Page 16 - แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฉบับที่ 13
P. 16

ี
                                            ่
                              1. การพฒนาทสามารถสรางความเจริญดานรายได และคณภาพชีวิตของประชาชนให
                                      ั
                                                                           
                                                                   
                                                                                 ุ
               เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งเปนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ไมใชทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไมสรางมลภาวะ
               ตอสิ่งแวดลอมจนเกินความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศ
                                                                  ิ
                                                        
                                                               ั
                                                                  ่
                                                                                          ั
                                                                        
                              2. การผลิตและการบริโภคเปนมิตรกบสงแวดลอม และสอดคลองกบกฎ ระเบียบของ
                                                                                                   ุ
                                  ่
                                  ี
                                                                                   ิ
                                                               
                                                                                        ่
                                                     ุ
                            ่
                            ึ
               ประชาคมโลกซงเปนทยอมรับรวมกัน ความอดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาตและสิงแวดลอมมีคณภาพด        ี
               ขึ้น คนมีความรับผิดชอบตอสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพื่อประโยชนสวนรวม
                                                                  ุ
                                                                  
                                                             ั
                              3. ประชาชนมความรับผดชอบตอสงคม มงประโยชนสวนรวมอยางยงยน ใหความสําคญ
                                                                             
                                                                                         ั
                                                                                            ื
                                                                                      
                                                                                         ่
                                                                                                        ั
                                          ี
                                                   ิ
               กับการมีสวนรวมของประชาชนทุกภาคสวน เพ่อการพฒนาในทุกระดับอยางสมดุล มีเสถียรภาพ และยั่งยืน
                                                       ื
                                                             ั
               ทุกภาคสวนในสังคม ยึดถือและปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

















               ที่มา : เอกสารยุทธศาสตรชาติ พ.ศ. 2561-2580 http://nscr.nesdb.go.th/


                       แผนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา

                                                                                                     ่
                                                     ่
                                        ึ
                                                                                              ื
                                                                                              ้
                                                                                                     ี
                           การปฏิรูปการศกษาเปนสวนหนึงของการปฏิรูปประเทศเนื่องจากการศกษาเปนพนฐานทสําคัญ
                                                                                      ึ
               ของการพฒนาประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศ ซ่งการปฏิรูป
                                                                                               ึ
                        ั
               การศึกษาครอบคลุมถึงการเรียนรูตลอดชีวิต ไมไดจํากัดเฉพาะการศกษาเพื่อคุณวุฒิเทานั้น
                                                                       ึ
                           วัตถุประสงคของการปฏิรูปการศึกษา มี 4 ดาน ดังนี้
                                                                                                ่
                              1) ยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา (Enhance quality of education) ทีครอบคลุม
                              2) ลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา (Reduce disparity in education)


                                   ี
                                   ่
               แผนยุทธศาสตร มธ. ฉบับท 13 (พ.ศ. 2565-2570) ฉบับทบทวน ปงบประมาณ พ.ศ. 2568               6
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21